Lesson 6
Knowledge (ความรู้ที่ได้รับ) :
การทำงานของสมองซีกขวา และซีกซ้าย
สมองซีกขวา จะควบคุมการทำงานของสมองซีกซ้ายของร่างกาย โดยสมองซีกขวาจะทำงานในในหน้าที่ตามแนวทางที่สร้างสรรค์ จินตนาการทางด้านศิลปะ ความถนัดของคนที่ใช้สมองซีกขวามักสนใจในการทำงาน หรือการรับรู้เป็นพิเศษที่เกี่ยวกับ
1. ศิลปะแขนงต่าง ๆ 2. งานที่เกี่ยวกับอารมณ์ขัน
3. การใช้ภาษาง่าย ๆ ที่ไม่สลับซับซ้อน
4. การศึกษาความคิดในเชิงปรัชญา
5. การจัดสวนหรือปรับแต่งต้นไม้ให้กลมกลืนกับธรรมชาติ
6. ความสารถในงานฝีมือ และงานประดิษฐ์
7. งานที่เกี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์ จิตรกร การออกแบบ งานประเภทครีเอทีฟโฆษณา
8. รักการอ่าน การเขียนหนังสือ มีความสามารถแต่งแต้มจินตนาการลงในงานเขียนได้เป็นอย่างดี
9. ประเภทศิลปิน ดารา นักแสดง ซึ่งที่มักต้องใช้อารมณ์ความรู้สึกทั้งทางร่างกายและคำพูด
สมองซีกซ้าย จะควบคุมการทำงานของสมองซีกขวาของร่างกาย โดยสมองซีกซ้ายจะควบคุมการแสดงออก และทำหน้าที่ในการคิดอย่างมีสามัญสำนึก เป็นเหตุเป็นผล รวมถึงการวิเคราะห์แยกแยะรายละเอียด ความถนัดของคนที่ใช้สมองซีกซ้ายมักสนใจในการทำงาน หรือการรับรู้เป็นพิเศษที่เกี่ยวกับ
1. การพูดโน้มน้าวจิตใจคน
2. การตีความหมายของภาษา
3. การวิเคราะห์เวลาและความเสี่ยง
4. อาชีพที่ต้องใช้การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร ตัวเลข
5. การจัดหมวดหมู่ การแยกประเภทสินค้าต่าง ๆ
6. ผู้บริหารที่ต้องจัดการวงแผนอย่างมีเหตุผล ระบบขั้นตอน
7. งานที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
8. นักกีฬาที่ต้องใช้กล้ามเนื้อแขนและขา
9. อาชีพที่ต้องใช้ความแม่นยำสูง เช่น ศัลยกรรมแพทย์ วิศวกร
การทำงานของสมองจะทำงานเมื่อมีสิ่งเร้ามาสัมผัสผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เซลล์สมองจะเพิ่มมากขึ้น
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ คือ
1.มีความแตกต่างกัน
2.มีการเปลี่ยนแปลง
3.มีการปรับตัว
4.มีการพึ่งพาอาศัยกัน
5.มีความสมดุล
บิดาการศึกษาปฐมวัย คือ เปสตาลอซซี่ ( Pestalozzi)
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
1.เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
2.การเรียนรู้แบบองค์รวมครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุปหลักการจัดการศึกษา
พัฒนาเด็กให้ครบทุกด้าน เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
การเรียนรู้จากการคิดและการปฏิบัติจริง
- เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
- พัฒนาทักษะ การสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก การสรุปความคิดรวบยอด การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ
- กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ กิจวัตรประจำวัน ฯลฯ
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้กับเด็กๆ
1.ขั้นกำหนดปัญหา
2.ขั้นตั้งสมมติฐาน
3.ขั้นรวบรวมข้อมูล
4.ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
1.ความอยากรู้อยากเห็น
2.ความเพียรพยายาม
3.ความมีเหตุผล
4.ความซื่อสัตย์
5.มีระเบียบรอบคอบ
6.ความใจกว้าง
ความสำคัญ
- ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
- พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- เสริมสร้งประสบการณ์
ประโยชน์
- พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
- พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้
1. การพูดโน้มน้าวจิตใจคน
2. การตีความหมายของภาษา
3. การวิเคราะห์เวลาและความเสี่ยง
4. อาชีพที่ต้องใช้การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร ตัวเลข
5. การจัดหมวดหมู่ การแยกประเภทสินค้าต่าง ๆ
6. ผู้บริหารที่ต้องจัดการวงแผนอย่างมีเหตุผล ระบบขั้นตอน
7. งานที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
8. นักกีฬาที่ต้องใช้กล้ามเนื้อแขนและขา
9. อาชีพที่ต้องใช้ความแม่นยำสูง เช่น ศัลยกรรมแพทย์ วิศวกร
การทำงานของสมองจะทำงานเมื่อมีสิ่งเร้ามาสัมผัสผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 เซลล์สมองจะเพิ่มมากขึ้น
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ คือ
1.มีความแตกต่างกัน
2.มีการเปลี่ยนแปลง
3.มีการปรับตัว
4.มีการพึ่งพาอาศัยกัน
5.มีความสมดุล
บิดาการศึกษาปฐมวัย คือ เปสตาลอซซี่ ( Pestalozzi)
เปสตาลอซซี่ ( Pestalozzi) มีชีวิตอยู่ในช่วงระยะเวลาระหว่าง
ปีค.ศ.1746ถึง1827เปสตาลอซซี่เป็นนักการศึกษาชาวอิตาเลี่ยน-สวิสเซอร์แลนด์ซึ่งทฤษฎีทางการศึกษาที่คิดนั้นได้กลายเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย เปสตาลอซซี่ได้รับอิทธิพลด้านความคิดจากรุสโซ เปสตาลอซซี่
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
1.เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
2.การเรียนรู้แบบองค์รวมครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุปหลักการจัดการศึกษา
พัฒนาเด็กให้ครบทุกด้าน เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
การเรียนรู้จากการคิดและการปฏิบัติจริง
- เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
- พัฒนาทักษะ การสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก การสรุปความคิดรวบยอด การแก้ปัญหา การคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ
- กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการศึกษานอกสถานที่ กิจวัตรประจำวัน ฯลฯ
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้กับเด็กๆ
1.ขั้นกำหนดปัญหา
2.ขั้นตั้งสมมติฐาน
3.ขั้นรวบรวมข้อมูล
4.ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
1.ความอยากรู้อยากเห็น
2.ความเพียรพยายาม
3.ความมีเหตุผล
4.ความซื่อสัตย์
5.มีระเบียบรอบคอบ
6.ความใจกว้าง
ความสำคัญ
- ตอบสนองความต้องการตามวัยของเด็ก
- พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- เสริมสร้งประสบการณ์
ประโยชน์
- พัฒนาความคิดรวบยอดพื้นฐาน
- พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้
Skill (ทักษะ) : คิดวิเคราะห์,ระดมความคิด,การเชื่อมโยงความรู้
Adoption (การนำไปใช้) : เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก
Teaching Techniques (เทคนิคการสอน): บรรยาย ,สื่อPowerpoint ,กราระดมความคิด
Evaluation (การประเมิน):
ตัวเอง มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและช่วยออกความคิดเห็นระดมความคิดกับเพื่อนๆในชั้นเรียน
เพื่อน ตั้งใจเรียนดีให้ความร่วมมือในการระดมความคิด
อาจารย์ บรรยายและยกตัวอย่างไดเข้าใจ มีการถามเพื่อให้นักศึกษารู้จักการใช้ความคิดของตัวเองออกมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด
ห้องเรียน เรียบร้อยดี สะอาด แอร์เย็น
ตัวเอง มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนและช่วยออกความคิดเห็นระดมความคิดกับเพื่อนๆในชั้นเรียน
เพื่อน ตั้งใจเรียนดีให้ความร่วมมือในการระดมความคิด
อาจารย์ บรรยายและยกตัวอย่างไดเข้าใจ มีการถามเพื่อให้นักศึกษารู้จักการใช้ความคิดของตัวเองออกมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด
ห้องเรียน เรียบร้อยดี สะอาด แอร์เย็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น